ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา FUNDAMENTALS EXPLAINED

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Fundamentals Explained

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา Fundamentals Explained

Blog Article

มองภาพรวมการศึกษาโลก: คนเข้าถึงการศึกษามากขึ้น แต่ความเหลื่อมล้ำยังสูง

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

ปัญหาความไม่เท่าเทียมกันทางการศึกษา ส่งผลให้คุณภาพการเรียนการสอนไม่เท่ากันในแต่ละพื้นที่ สถานศึกษาบางแห่งไม่ได้พัฒนาหลักสูตรให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน จึงทำให้องค์กรหลากหลายแห่งขาดแคลนแรงงานฝีมือคุณภาพ หรือต้องลงทุนไปกับทรัพยากรเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาพนักงานด้วยตนเอง 

การขาดแคลนครูผู้สอนเป็นปัญหาที่สะท้อนให้เห็นถึงระบบโครงสร้างในการผลิตครู เพื่อเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของระบบทางการศึกษา เนื่องจากอัตราการแข่งขันในการสอบบรรจุข้าราชการครูที่สูงมาก ในขณะที่อัตราการรับเข้าบรรจุเองก็น้อยมาก ส่งผลให้ขาดแคลนครูผู้สอนในบางรายวิชาอยู่เป็นจำนวนมาก

'ความยากจน' อุปสรรคเด็กปฐมวัยไม่พร้อมเรียน

ถ้ามีโอกาสได้เรียนรู้วิชาชีพครู จะช่วยสร้างทักษะการเรียนรู้ให้เด็กได้มากกว่านี้ 

การขยายขนาดโรงเรียน สามารถช่วยให้เด็กนักเรียนจำนวนมากมีโอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเท่าเทียมกัน ช่วยลดความต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา เนื่องจากเด็กนักเรียนได้รับการเรียนการสอนภายใต้มาตรฐานเดียวกัน และยังช่วยลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาจากคุณภาพของโรงเรียนได้ 

สังคมไทยยังคงเป็นสังคมที่ให้ความสำคัญ และให้คุณค่ากับการเรียนการสอนในเชิงทักษะทางด้านวิชาการมากกว่าทักษะทางด้านสังคม รวมถึงระยะเวลาที่ยาวนานในการเล่าเรียน จึงทำให้เยาวชนขาดทักษะทางด้านสังคม ขาดการเรียนรู้เพื่อการเสริมสร้างทักษะชีวิต และสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คน ทำให้แม้ว่าจะมีความรู้ และทักษะที่ดีในเชิงวิชาการ แต่กลับไม่สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

ปลดล็อกท้องถิ่น – โรงเรียน ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา เพิ่มโอกาสกระจายทรัพยากร

ขอให้ลูกเป็นคนดีก็พอแล้ว…แต่พอจริงหรือ?

หน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการคือผลิตทรัพยากรมนุษย์ทั้งในระบบ นอกระบบหรือตามอัธยาศัย ซึ่งขณะนี้ได้ขับเคลื่อนเรื่องธนาคารหน่วยกิตที่เป็นการสะสมหน่วยกิตจากผลการเรียน การฝึกอบรม ประสบการณ์ และทักษะ เพื่อเป็นโอกาสทางการศึกษาสำหรับทุกช่วงวัยนำไปใช้ต่อยอดในการศึกษาต่อ เพราะปัจจุบันไม่ใช่แค่การพัฒนาคุณวุฒิผู้เรียนเท่านั้น แต่ยังต้องมุ่งพัฒนาทักษะเด็กให้ทันโลกด้วย ที่สำคัญต้องไม่อัดวิชาการเกินหลักสูตรในโรงเรียน เพราะจะนำไปสู่การเรียนพิเศษที่สร้างความเหลื่อมล้ำได้

โครงการสร้างโอกาสทางการศึกษาสําหรับนักเรียนในพืนที่ห่างไกลเป็นครูรุ่นใหม่เพือพัฒนาคุณภาพโรงเรียนของชุมชน (ครูรัก(ษ์)ถิ่น)

นอกจากนี้ ยังพบว่าครูจำนวนมากต้องแบกรับภาระหน้าที่ที่หลากหลาย สวนทางกับอัตราค่าจ้างที่ควรจะได้รับ รวมถึงสวัสดิการที่ไม่เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่ชนบท จึงทำให้ผู้คนจำนวนมากไม่เลือกประกอบอาชีพครู ทำให้นักเรียนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้ และไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง จากปัญหาข้างต้นก็อาจสะท้อนได้ในอีกแง่มุมหนึ่งว่า ครูเองก็อาจเป็นผลผลิตมาจากความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในอดีตด้วยเช่นกัน

มุ่งสู่ระบบการศึกษาที่เสมอภาค และไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง

Report this page